[recent_post_slider design="design-4" category="6481,5610" limit="30" dots="false" show_read_more="true" show_date="false" show_date="false" show_author="false" show_content="false" ]งานใหม่ล่าสุด!!
  • ไม่มีหมวดหมู่

แจกฟรี!! แนวข้อสอบ ภาค ก. ก.พ. ภาษาไทย ชุดที่ 17

แชร์ให้เพื่อน

แจกฟรี!! แนวข้อสอบ

ภาค ก. ก.พ.

ภาษาไทย ชุดที่ 17

คำสั่ง       ในแต่ละข้อจงพิจารณาข้อความที่มีตัวเลข 1 – 4 กำกับอยู่หน้าข้อความ แล้วเลือกตอบว่า

มีข้อความใดใช้ ไม่รัดกุมหรือไม่ถูกต้องตามความหมายหรือหลักภาษา

 

  1. 1. หลังจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานรัฐธรรมนูญ
  2. การปกครองของประเทศก็เป็นระบอบประชาธิปไตย
  3. ฐานะของพระมหากษัตริย์ได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
  4. พระองค์ทรงอยู่เหนือความรับผิดชอบทางการเมืองเพราะการเมืองเป็นภาระของรัฐบาล

 

 

  1. 1. ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศไทยได้รับอิทธิพลด้านการศึกษามาจากชาติตะวันตก
  2. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง
  3. กระทรวงธรรมการขึ้น เพื่อรับผิดชอบงานด้านการศึกษา
  4. จึงมีผลกระทบให้การศึกษาแบบตะวัตตก ได้เริ่มขึ้นตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน

 

  1. 1. ในปัจจุบันขีดขั้นความสามารถทางเทคโนโลยีของประเทศไทย
  2. อยู่ในระดับการรับเทคโนโลยีทางต่างประเทศ
  3. แล้วนำมาดัดแปลงเพื่อนำมาใช้กับอุตสาหกรรมเท่านั้น
  4. มิได้เกิดขึ้นจากการ : คิดค้นของนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย

 

  1. 1. มลพิษทางน้ำเป็นปัญหาที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมและแหล่งชุมชนระบายของเสียลงสู่แหล่งน้ำ
  2. แม่น้ำที่มีปัญหาในการปล่อยของเสียคือแม่น้ำสายหลักของประเทศ 4 สาย
  3. ซึ่งมีแม่น้ำเจ้าพระยาแม่น้ำท่าจีน แม่น้ำบางปะกงและแม่น้ำแม่กลอง
  4. โดยเฉพาะอย่างยิ่งแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณตั้งแต่ จังหวัดปทุมธานีถึงจังหวัดสมุทรปราการ

 

  1. 1. ลัทธิเสรีนิยมหมายถึงความเชื่อและการยอมรับหลักการ
  2. ที่มุ่งไปสู่จุดหมายปลายทางสำคัญที่สุดคือ
  3. การรักษาและเพิ่มพูนเสรีภาพให้มากที่สุด
  4. โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ส่วนบุคคล

 

  1. “เรดเตอร์” ในภาษาอังกฤษนั้น เป็นคำสำหรับใช้เรียกตำแหน่งหัวหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่ง แต่เดิมเรียกว่าผู้บัญชาการ หม่อมเจ้าวรรณ ไวทยากรณ์ ทรงแนะนำว่ามหาวิทยาลัยของฝรั่งแต่ก่อน      ก็คือวัดเจ้าหน้าที่ประจำวัดก็ได้แก่ พระ ดังนั้นเรดเตอร์ควรใช้ว่า “อธิการ” จะได้เข้ารูปตามสำนวน        ข้อใดตีความได้ถูกต้อง
  2. เจ้าหน้าที่ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคือผู้บัญชาการ
  3. คำว่า “อธิการ” เป็นคำที่ใช้เรียกพระมาก่อน
  4. วัดของฝรั่งเรียกหัวหน้า พระ ว่าผู้บัญชาการ
  5. ตำแหน่งหัวหน้าหรือผู้บัญชาการของมหาวิทยาลัยเทียบเท่ากับพระ

 

 

 

 

 

 

  1. การรักษาหรืออนุรักษ์ภาษามิได้หมายความว่ารักษาให้เหมือนเดิมทุกประการ เพราะนั่นคือการ

ขัดขวางการเจริญเติบโตของภาษา ข้อใดตีความได้ถูกต้อง

  1. การอนุรักษ์ภาษาเป็นการขัดขวางการเจริญเติบโตของภาษา
  2. ภาษาจะเหมือนเดิมทุกประการได้ต้องมีการอนุรักษ์
  3. ภาษาต้องมีการเจริญเติบโต
  4. การรักษาภาษากับการอนุรักษ์ภาษามีความแตกต่างกัน

 

  1. มหาวิทยาลัยไม่ควรละเลยเรื่องการปลูกฝังคุณธรรมเพราะมหาวิทยาลัยไม่เพียงแต่มุ่งสร้างคนเก่ง เท่านั้น ข้อใดตีความได้ถูกต้อง
  2. การปลูกฝังคุณธรรมเป็นหน้าที่ของมหาวิทยาลัย
  3. คนเก่งโดยส่วนมากจะมีการศึกษาจากมหาวิทยาลัย
  4. มหาวิทยาลัยควรสร้างคุณภาพของคนควบคู่กับการอบรมสรรพ
  5. พื้นฐานของการศึกษาต้องเกิดขึ้นจาภาระมีคุณธรรม

 

  1. การทำสมาธิคือการทำใจให้สงบนิ่ง วิธีทำให้สาย และเมื่อเรียกว่าบริการที่อยู่ตามจะนึกถึงคำใดคำหนึ่ง เช่น พุทโธ อรหันต์ เป็นต้น แล้วนึกในใจ ขณะเดียวกันก็เอสติควบคุม จิตของตนให้นึกอยู่ในบริกรรมนั้น     จนจิตสงบแล้วจึงปล่อยวางบริกรรมนั้นเสีย สาระสำคัญของข้อความนี้กล่าวถึงเรื่องอะไร
  2. การทำสมาธินั้นทำได้หลายวิธี
  3. การทำบริกรรมเป็นหางหนึ่งของการทำสมาธิ
  4. การทำสมาธิต้องอาศัยสิ่งหนึ่งสิ่งใดเป็นแนวทางจึงจะเข้าสู่สมาธิได้
  5. คำว่า พุทโธ อรหันต์ เป็นหัวใจของการบริกรรม ซึ่งจะช่วยให้ใจสงบ

 

  1. เทคโนโลยีมีทั้งความหมายเชิงบำรุงบำเรอเป็นเครื่องเสริมความสุขจากการเสพ และอีกด้านหนึ่งเป็น ปัจจัยแห่งการสร้างสรรค์ที่สนองความต้องการให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน ข้อใดตีความได้ ถูกต้อง
  2. เทคโนโลยีมีทั้งให้โทษและคุณประโยชน์
  3. มนุษย์สามารถเสพความสุขต่าง ๆ ได้จากเทคโนโลยี
  4. ความสำเร็จในการทำงานขึ้นอยู่กับเทคโนโลยี
  5. มนุษย์โน้มเอียงในการหาความสุขจากเทคโนโลยีมากกว่าการสร้างสรรค์งาน

 

 

 

  1. การวินิจฉัยความขัดแย้งของกฎหมายเป็นกิจกรรมทางการเมืองที่ฝ่ายบริหารในระบอบ ประชาธิปไตยไม่สามารถกระทำได้ จึงต้องเป็นหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ ข้อใดตีความได้ถูกต้อง
  2. ความขัดแย้งของกฎหมายเกิดจากการทำหน้าที่ของฝ่ายบริหาร
  3. ฝ่ายบริหารมีอำนาจในการวินิจฉัยความขัดแย้งของกฎหมาย
  4. ข้อขัดแย้งทางกฎหมายเกิดจากการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
  5. ฝ่ายบริหารและศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่ร่วมกันในการหาข้อยุติในข้อขัดแย้ง

 

  1. ประตูสามยอดเป็นประตูกำแพงเมืองซึ่งสร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 โดยสร้างเป็นประตูสามช่อง มียอดทั้ง สามช่อง นับตั้งแต่นั้นชาวบ้านก็พากันเรียกประตูดังกล่าวว่า “ประตูสามยอด” ข้อใดตีความได้ ถูกต้อง
  2. ชาวบ้านเป็นผู้สร้างประตูเมือง
  3. กำแพงเมืองนิยมสร้างให้มียอด
  4. “ประตูสามยอด” ได้ชื่อจากลักษณะของการสร้าง
  5. เริ่มมีการสร้างกำแพงเมืองในสมัยรัชกาลที่ 5

 

  1. การลดขนาดของราชการอาจใช้เวลานานกว่าการปรับปรุงคุณภาพ การทำให้คุณภาพต้องเริ่มที่ตัวข้าราชการ ซึ่งต้องมีทัศนคติเชิงบวก ข้อใดตีความได้ถูกต้อง
  2. การพัฒนาคนง่ายกว่าการพัฒนาระบบ
  3. การพัฒนาข้าราชการต้องเริ่มจากการพัฒนาทัศนคติ
  4. ราชการต้องปรับทั้งคุณภาพของคนและขนาดกำลังคน
  5. ถ้าจะปรับลดขนาดจะต้องเพิ่มประสิทธิภาพของผู้ที่จะเข้ารับราชการ

 

  1. งานอดิเรกคืองานที่ไม่ใช่งานอาชีพโดยตรง แต่เป็นงานที่คนชอบทำเป็นพิเศษ เช่น นักการเมืองที่ ชอบเล่นดนตรี ย่อมพอใจคนสนทนาทางดนตรีมากกว่าการเมือง ครูที่ชอบการเมืองย่อมเอาใจใส่ การเมือง มากกว่าการศึกษา รัฐบุรุษที่ชอบเล่นของเก่าย่อมพอใจพบผู้สนใจทางของเก่ามากกว่าการ                              ปกครอง รวมความว่าตามปกติคนเราพอใจสนทนาตอบคำถามเรื่องอดิเรกมากกว่างานที่ทำอยู่จริง                                             สาระสำคัญของข้อความนี้กล่าวถึงเรื่องอะไร

 

 

 

 

 

คำสั่ง    พิจารณาข้อความในตัวเลือกว่าข้อความใดเป็นลำดับที่ 1, 2, 3 หรือ 4 แล้วจึงตอบคำถามแต่ละข้อ        ที่กำหนดให้

 

  1. ข้อความใดเป็นลำดับที่ 1
  2. และก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจมิใช่น้อย
  3. แต่การเพิ่มปริมาณการใช้วัคซีนในช่วงเวลา 5 ปีที่ผ่านมา
  4. สะท้อนให้เห็นว่าโรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัญหาที่ทวีความสำคัญ
  5. แม้ว่าสถิติโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทยมิได้มีอัตราเพิ่มขึ้นมาก

 

  1. ข้อความใดเป็นลำดับที่ 3
  2. โดยยึดข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อมประกอบการนั้นๆ
  3. ทฤษฎีสมองกลถือว่าคนเป็นสิ่งมีชีวิตซึ่งมักทำอะไรอย่างมีจุดหมาย
  4. ถ้าหากไม่กระทบสิ่งเหล่านั้นก็เพราะไม่ทราบวัตถุประสงค์
  5. หรือไม่ทราบผลร้ายที่เกิดขึ้นตามมาภายหลัง

 

  1. ข้อความใดเป็นลำดับที่ 2
  2. จะเป็นสิ่งกล่อมเกลานิสัยใจคอและสติปัญญาของเขา
  3. ปฐมวัยเป็นวัยแห่งการก่อรูปของนิสัยใจคอและบุคลิกภาพ
  4. ประสบการณ์ที่เด็กได้รับจากบ้าน โรงเรียนและสังคมในปฐมวัย
  5. กล่าวคือจะทำให้เขาเป็นบุคคลที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เป็นคนขลาด คนกล้า

คนชื่อสัตย์ หรือคนโกง

  1. ข้อความใดเป็นลำดับที่ 4
  2. แม้คนไทยจะพูดภาษาไทยหรือใช้ภาษาไทยได้
  3. ภาษาไทยก็เช่นเดียวกันมีปัญหาอย่างกว้างขางมาก
  4. แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาจะไม่มีปัญหาในการใช้ภาษา
  5. การสื่อความคิดไม่ว่าโดยการพูดการเขียนย่อมเกิดปัญหาทั้งสิ้น

 

  1. ข้อความใดเป็นลำดับที่ 3
  2. และเป็นหลักฐานยืนยันความเป็นเจ้าของในกรรมสิทธิ์ที่ถูกต้องตามกฎหมาย
  3. ที่กำหนดให้แทนสิ่งนั้นๆ ทั้งนี้เพื่อง่ายแก่การจดจำ
  4. ในปัจจุบันคำว่าสัญลักษณ์เข้ามามีบทบาทในสังคมมากขึ้น
  5. เปรียบเสมือนตราหรือเครื่องหมายของสิ่งต่างๆ

ข้อสอบ ก.พ.,แนวข้อสอบ ก.พ.,แนวข้อสอบ ก.พ. ภาค ข,แนวข้อสอบ ก.พ. เฉลย,แนวข้อสอบ ก.พ. 2562,แนวข้อสอบ ภาษาอังกฤษ ก.พ.,เฉลยข้อสอบ ก.พ.,หนังสือ เตรียม สอบ ก.พ.,หนังสือ คู่มือ ก.พ.,หนังสือ สอบ ก.พ.,ข้อสอบ ภาค ก.,ข้อสอบ ภาค ก. ก.พ.,แนวข้อสอบ ภาค ก.,แนวข้อสอบ ภาค ก. ก.พ.,แนวข้อสอบ ก.พ. ภาค ก.,แนวข้อสอบ ก.พ. ภาค ก. 2562,แนวข้อสอบ ภาค ก. ก.พ. 2562,แนวข้อสอบ ภาค ก. 2562,แนวข้อสอบ ภาค ก. ภาค ข,แนวข้อสอบ ภาค ก. เฉลย,แนวข้อสอบ ภาษาอังกฤษ ภาค ก.,หนังสือ คู่มือ ภาค ก. ก.พ.,หนังสือ เตรียม สอบ ก.พ. ภาค ก.,หนังสือ เตรียม สอบ ภาค ก.,เฉลยข้อสอบ ภาค ก.,

Facebook Comments

You may also like...

ACTGROUP แอ๊คกรุ๊ป ติวสอบท้องถิ่น สอบ กพ. 2562 - 2563 แนวข้อสอบ กพ ธ.ก.ส. รับสมัครสอบ ข่าวสอบราชการ สอบ ก.พ. 2563 รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ งานรัฐวิสาหกิจ งานเอกชน หางานราชการ สมัครงานราชการ และข่าวสารการรับสมัครงานมากมายที่นี่ี 2562-2563