[recent_post_slider design="design-4" category="6481,5610" limit="30" dots="false" show_read_more="true" show_date="false" show_date="false" show_author="false" show_content="false" ]งานใหม่ล่าสุด!!
  • ไม่มีหมวดหมู่

แจกฟรี!! แนวข้อสอบ ภาค ก. ก.พ. ความสามารถทั่วไป ชุดที่ 3

แชร์ให้เพื่อน

แจกฟรี!! แนวข้อสอบ

ภาค ก. ก.พ.

ความสามารถทั่วไป ชุดที่ 3

คำสั่ง    พิจารณาคำคู่แรกว่าสัมพันธ์กันอย่างไร แล้วหาค่าคู่หลังที่มีความสัมพันธ์เช่นเดียวกัน

 

  1. ไร้เดียงสา : วุฒิภาวะ? : ?
  2. อัดอัด : ปลอดโปร่ง                              2.   หดหู : ซึมเศร้า
  3. ตื่นเต้น : เร้าใจ                                    4.   ไร้ราคา : ไร้มลทิน

 

  1. นิ้วเท้า : เท้า? : ?
  2. รองเท้า : ถุงเท้า                                   2.   แก้วตา : นัยน์ตา
  3. กำปั้น : มือ                                          4.   ข้อมือ : ข้อศอก

 

  1. กระแทก : ดัน ? : ?
  2. สัมผัส: แตะ                                        2.   ขว้าง : โยน
  3. วิวาท : โต้แย้ง                                     4.   รุนแรง : หักโหม

 

  1. ชีวิต : การศึกษา ? : ?
  2. บ้าน : เสา                                           2.   ตึก : รากฐาน
  3. ปราสาท : กำแพง                                4.   กระท่อม : หลังคา

 

  1. รุ่งอรุณ : สนธยา? : ?
  2. ไพร่ : ผู้ดี                                            2.   วัยรุ่น : ผู้ใหญ่
  3. เด็กผู้ : สูงอายุ                                     4.   ผู้หญิง : ผู้ชาย

คำสั่ง    พิจารณา เงื่อนไขที่กำหนดให้ แล้วตอบคำถามแต่ละข้อ ตามหลักเกณฑ์การตอบที่กำหนดให้

ตอบ 1   ถ้าข้อสรุปทั้งสองถูกหรือเป็นจริงตามเงื่อนไข

ตอบ 2   ถ้าข้อสรุปทั้งสองผิดหรือไม่เป็นจริงตามเงื่อนไข

ตอบ 3   ถ้าข้อสรุปทั้งสองไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่าถูกหรือผิดตามเงื่อนไข

ตอบ 4   ถ้าข้อสรุปทั้งสองมีข้อสรุปหนึ่งถูกหรือผิดหรือไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด ซึ่งไม่ตรงกับอีก               ข้อสรุปหนึ่ง

เครื่องหมายที่กำหนดในข้อสอบ

หมายถึง      มากกว่า

หมายถึง      น้อยกว่า

หมายถึง      เท่ากับ

หมายถึง      ไม่เท่ากับ ซึ่งอาจมากกว่าหรือน้อยกว่า

หมายถึง      ไม่มากกว่า มีความหมายเดียวกับ

หมายถึง      ไม่น้อยกว่า มีความหมายเดียวกับ

หมายถึง      น้อยกว่า หรือ เท่ากับ

หมายถึง      มากกว่า หรือ เท่ากับ

ถ้า

และ                               (ทุกตัวอักษรมีค่าเป็นจำนวนเต็มบวก)

 

  1. ข้อสรุปที่ 1                                 ข้อสรุปที่ 2

 

  1. ข้อสรุปที่ 1                                 ข้อสรุปที่ 2

 

  1. ข้อสรุปที่ 1                                 ข้อสรุปที่ 2

 

  1. ข้อสรุปที่ 1                  ข้อสรุปที่ 2

 

  1. ข้อสรุปที่ 1                               ข้อสรุปที่ 2

 

 

 

คำสั่ง    ทำเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 31 – 35

 

– ลิฟต์ตัวหนึ่ง มีผู้โดยสาร 3 คน จากชั้น 1 ไปหยุดที่ชั้น 5 มีผู้โดยสารในขณะนั้น จำนวน 5 คน

– จำนวนผู้โดยสารสูงสุด ไม่เกิน 5 คน

– จากชั้น 1 ถึงชั้น 5 ลิฟต์หยุดทั้งสิ้น 3 ครั้ง

– ในครั้งนี้ลิฟต์เดินทางขึ้นอย่างเดียว ไม่มีการเดินทางลง

– น้ำหนักสูงสุดที่จะบรรจุได้ไม่เกิน 1,000 ปอนด์ มิฉะนั้นสายพานอาจขาดได้

– มีคน 3 คน เดินเข้าไปในลิฟต์ที่ชั้น 2

 

  1. ข้อสรุปที่ 1 ต้องมีคนอย่างน้อย 1 คน ออกจากลิฟต์ที่ชั้น 2

ข้อสรุปที่ 2      ไม่มีใครออกจากลิฟต์ที่ชั้น 3

 

  1. ข้อสรุปที่ 1 มีคนออกจากลิฟต์ที่ชั้น 2 เพียงคนเดียว

ข้อสรุปที่ 2      ลิฟต์หยุดที่ชั้น 3

 

  1. ข้อสรุปที่ 1 คน 6 คน สามารถอยู่ในลิฟต์พร้อมกันได้

ข้อสรุปที่ 2      น้ำหนักโดยเฉลี่ยของผู้โดยสารที่ชั้น 5 หนักคนละ 200 ปอนด์

 

  1. ข้อสรุปที่ 1 ไม่มีคนออกจากลิฟต์ชั้น 2

ข้อสรุปที่ 2      ลิฟต์ไม่หยุดที่ชั้น 4

 

  1. ข้อสรุปที่ 1 หากลิฟต์ไม่หยุดที่ชั้น 2 และไม่มีผู้โดยสารออกที่ชั้น 3 และ 4 จะมีผู้โดยสารที่เข้าที่

ชั้น 3 และ 4 อย่างน้อยชั้นละ 1 คน

ข้อสรุปที่ 2      หากมีผู้โดยสารเข้าที่ชั้น 4 จำนวน 2 คน โดยไม่มีผู้โดยสารออกแสดงว่ามีผู้โดยสาร                                    ออกที่ชั้น 2 จำนวน 2 คน

 

คำสั่ง    จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

 

  1. ข้อมูล “คนมีความรู้ทุกคนเป็นคนเก่งคนเก่งบางคนเป็นคนดี” ดังนั้นสรุปได้ว่า
  2. คนมีความรู้บางคนเป็นคนดี                  2.   คนมีความรู้ทุกคนเป็นคนดี
  3. คนดีบางคนเป็นคนมีความรู้                  4.   คนดีทุกคนเป็นคนมีความรู้

 

  1. ข้อมูล “คนไทยทุกคนเป็นคนดีคนดีบางคนเป็นคนรวยคนรวยบางคนเป็นคนใจบุญ” ดังนั้นสรุปว่า
  2. คนไทยทุกคนเป็นคนรวย                       2.   คนไทยทุกคนเป็นคนใจบุญ
  3. คนใจบุญบางคนเป็นคนไทย                  4.   คนไทยบางคนเป็นคนใจบุญ
  4. ข้อมูล “เด๋อยืนอยู่ระหว่างดำกับแดง ดำยืนอยู่ระหว่างเต่อกับต๋อย ต๋อยยืนอยู่ระหว่างดำกับตอน โดยที่ทั้ง 5 คน ยืนอยู่ในแนวเดียวกัน” สรุปว่าใครยืนอยู่ตรงกลาง
  5. เด๋อ                                                    2.   ดำ
  6. แดง                                                   4.   ต๋อย

 

  1. ข้อมูลปลาบางชนิดบินได้อย่างนกปลาไม่ใช่นกแต่ปลาเป็นสัตว์ดังนั้นสรุปว่า
  2. ปลาเหมือนนก                                     2.   นกและปลาบินได้
  3. ไม่ใช่นกก็บินได้                                    4.   ยังสรุปแน่นอนไม่ได้

 

  1. ข้อมูล “แม้ตลาดอินโตจีนจะมีความต้องการสินค้าจากต่างประเทศในระดับที่ค่อนข้างสูงแต่ ประชาชน โดยทั่วไปกลับมีกำลังซื้อต่ำ การมุ่งขยายการส่งออกไปยังตลาดอินโดจีนซึ่งอาจไม่ ได้ผลเท่าที่ควร    อย่างไรก็ดีการที่ประเทศอินโดจีนมีความต้องการเงินทุนจากต่างประเทศใน ระดับที่ค่อนข้างสูง                  เนื่องจากอยู่ในการบูรณะโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เพื่อเป็นฐานในการพัฒนา เศรษฐกิจและการค้า ของประเทศ ดังนั้นประเทศไทยมีฐานะที่มีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจสูงกว่า และมีที่ตั้งทาง ภูมิศาสตร์ที่ได้เปรียบประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคอินโดจีน ซึ่งน่าจะหาลู่ทางที่จะเข้า ไปแสวงประโยชน์  ในภูมิภาคนี้ได้ แต่นักธุรกิจไทยไม่สามารถเข้าไปลงทุนในภูมิภาคนี้ได้ เนื่องจากการติดขัดในเรื่อง                  กฎหมายการส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐ” ข้อสรุปใดไม่สอดคล้องกับข้อมูลข้างต้น
  2. แม้ตลาดอินโดจีนจะมีความต้องการสินค้าจากต่างประเทศในระดับที่ค่อนข้างสูงแต่ประชาชน                        กลับมีกำลังซื้อต่ำ
  3. การที่ประเทศอินโดจีนอยู่ในช่วงของการบูรณะโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจทำให้มีความ                           ต้องการเงินทุนจากต่างประเทศในระดับที่ค่อนข้างสูง
  4. การติดขัดในเรื่องกฎหมายการส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐ เนื่องจากนักธุรกิจไทยไม่สามารถ             เข้าไปลงทุนในภูมิภาคนี้ได้
  5. ประเทศไทยน่าจะหาลู่ทางที่จะเข้าไปแสวงประโยชน์ในภูมิภาคนี้ได้ เพราะมีระดับการพัฒนา              เศรษฐกิจสูงกว่าและมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ได้เปรียบประเทศอื่นๆ

 

คำสั่ง    พิจารณาคำคู่แรกว่าสัมพันธ์กันอย่างไร แล้วหาค่าคู่หลังที่มีความสัมพันธ์เช่นเดียวกัน

  1. พ่อ : ครอบครัว นายกรัฐมนตรี : ?
  2. สภา                     2.   กฎหมาย            3.   ประชาชน             4.   คณะรัฐมนตรี
  3. มีด : คม คน : ?
  4. รอบคอบ    สติปัญญา         3.   มาอดทน              4.   เฉลียวฉลาด

 

  1. แมว : หนู ? : กวาง
  2. งู                         2.   ม้า                    3.   เสือ                      4.   ช้าง

 

  1. ความอร่อย : ปาก ? : หู
  2. ความสุข               2.   ความหอม          3.   ความงาม             4.   ความไพเราะ

 

  1. ตา : ความงาม ? : ความหอม
  2. หู                         2.   ลิ้น                    3.   กลิ่น                     4.   จมูก

คำสั่ง    พิจารณาเงื่อนไขที่กำหนดให้ และตอบคำถามแต่ละข้อตามหลักเกณฑ์การตอบที่กำหนดให้                              กำหนดให้เครื่องหมายเป็นดังนี้

เครื่องหมายต่างๆ

หมายถึง เท่ากับ

หมายถึง ไม่เท่ากับซึ่งอาจจะมากกว่าหรือน้อยกว่า

หมายถึง มากกว่า

หมายถึง ไม่มากกว่าซึ่งอาจจะเท่ากับหรือน้อยกว่า

หมายถึง น้อยกว่า

หมายถึง ไม่น้อยกว่าซึ่งอาจจะเท่ากับหรือมากกว่า

หมายถึง มากกว่าหรือเท่ากับ

หมายถึง น้อยกว่าหรือเท่ากับ

 

คำชี้แจง   ตั้งแต่ข้อ 26-30 โจทย์แต่ละข้อจะกำหนดเงื่อนไขและข้อสรุปเป็นคู่ๆ ในรูปของตัวอักษรและ เครื่องหมาย ให้นำเงื่อนไขมาพิจารณาข้อสรุปทั้งสอง แล้วเลือกตอบข้อสรุปตามหลักการ ดังนี้

ตอบ 1   ถ้าข้อสรุปทั้งสองเป็นจริงตามเงื่อนไข

ตอบ 2   ถ้าข้อสรุปทั้งสองไม่เป็นจริงตามเงื่อนไข

ตอบ 3   ถ้าข้อสรุปทั้งสองไม่สามรถสรุปได้แน่ชัดว่าถูกหรือผิดตามเงื่อนไข

ตอบ 4   ถ้าข้อสรุปทั้งสองมีข้อสรุปใดข้อสรุปหนึ่งที่เป็นจริงหรือไม่จริง หรือไม่แน่ชัด ซึ่งไม่ซ้ำกับ                       อีกข้อสรุปหนึ่ง

 

ตอบ 4   ถ้าข้อสรุปทั้งสองมีข้อสรุปหนึ่งถูกหรือผิดหรือไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด ซึ่งไม่ตรงกับอีก               ข้อสรุปหนึ่ง

ใช้เงื่อนไขทางสัญลักษณ์ที่กำหนด ตอบคำถามข้อ 26 – 30

ถ้า

และ           (ทุกค่าเป็นจำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่าศูนย์)

 

  1. ข้อสรุปที่ 1)

ข้อสรุปที่ 2)

 

  1. ข้อสรุปที่ 1)

ข้อสรุปที่ 2)

 

  1. ข้อสรุปที่ 1)

ข้อสรุปที่ 2)

 

  1. ข้อสรุปที่ 1)

ข้อสรุปที่ 2)

 

  1. ข้อสรุปที่ 1)

ข้อสรุปที่ 2)

 

คำสั่ง ทำเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 31-35

  1. เพื่อนทุกคนของนพดลเป็นข้าราชการ
  2. นักการเมืองทุกคนต้องไม่เป็นข้าราชการ
  3. นักการธนาคารทุกคนไม่รู้จักนักการเมือง
  4. เพื่อนทุกคนของนภดล ไม่เป็นเพื่อนนักการเมือง
  5. นพดล สมหมาย นิวัฒน์ ทั้งสามคนเป็นเพื่อนร่วมชั้นเรียนสมัยอยู่ชั้นประถม
  6. สุเทพ แพ้ ประมาณ ในการเลือกตั้งครั้งที่แล้ว
  7. ชาติชาย คุ้นเคยกับ ประมาณ และเป็นเพื่อนร่วมงานกับนิวัฒน์
  8. ประเทือง เป็นเพื่อนของสมหมาย และเป็นเพื่อนสนิทของประมาณ
  9. พเยาว์ เป็นนักการธนาคาร
  10. นักการธนาคารทุกคน เป็นเพื่อนกับสมหมายและ ชาติชาย

 

  1. ข้อสรุปที่ 1) สมหมายเป็นข้าราชการ

ข้อสรุปที่ 2)     ชาติชายเป็นเพื่อนกับพเยาว์

 

  1. ข้อสรุปที่ 1) นพดลเป็นข้าราชการ

ข้อสรุปที่ 2)     ชาติชายเป็นนักการเมือง

 

 

  1. ข้อสรุปที่ 1) สุเทพเป็นเพื่อนนพดล

ข้อสรุปที่ 2)     ประเทืองเป็นนักการธนาคาร

 

  1. ข้อสรุปที่ 1) เพื่อนของชาติชายทุกคนต้องเป็นนักการเมือง

ข้อสรุปที่ 2)     พเยาว์เป็นเพื่อนกับประมาณ

 

  1. ข้อสรุปที่ 1) ข้าราชการทุกคนเป็นเพื่อนนภดล

ข้อสรุปที่ 2)     นิวัฒน์เป็นเพื่อนกับสุเทพ

 

คำสั่ง    จงเลือกคำถามที่ถูกต้องที่สุด

116   “นาย ก. วิ่งเร็วกว่านาย ข. นาย ค. วิ่งเร็วกว่านาย ข. นาย ง. วิ่งเร็วกว่านาย ค” ใครวิ่งช้าที่สุด

  1. นาย ข                  2.   นาย ก.              3.   นาย ง               4.   ยังสรุปแน่นอนไม่ได้

 

  1. “แดงเรียนอ่อนกว่าคำ แต่เก่งกว่าขาว เขียวเก่งเท่ากับเหลืองซึ่งเก่งกว่าแดง” ใครเรียนอ่อนที่สุด
  2. แดง                     2.   ขาว                   3.   คำ                    4.   เหลือง

 

  1. นักเรียนทุกคนที่จบจากโรงเรียน ก. เป็นคนฉลาด,สมศักดิ์เป็นคนฉลาด
  2. สมศักดิ์จบจากโรงเรียน ก.                     2.   สมศักดิ์ไม่จบจากโรงเรียน ก.
  3. คนฉลาดทุกคนจบจากโรงเรียน ก.          4.   สรุปแน่นอนไม่ได้

 

  1. “คุณแม่ไปตลาดแล้วจะทำกับข้าวอร่อย” ข้อใดไม่สอดคล้องกับข้อความข้างต้น
  2. คุณแม่ไม่ไปตลอดแล้วจะทำกับข้าวไม่อร่อย
  3. คุณแม่ไปตลาดแล้วจะทำกับข้าวไม่อร่อย
  4. คุณแม่ไม่ไปตลาดแล้วจะทำกับข้าวอร่อย
  5. คุณแม่ทำกับข้าวอร่อยแล้วคุณแม่จะไปตลาด

 

  1. เศรษฐกิจระบบทุนนิยมขัดกับสังคมนิยมตรงที่ว่า แม้เศรษฐกิจระบบทุนนิยมจะเปิดโอกาสให้ทุกคนมี

สิทธิเท่าเทียมกันในการแสวงหาวิ่งที่ตนต้องการทั้งในเศรษฐกิจและอื่นๆ แต่ความเท่าเทียมกันย่อมมี

ไม่ได้ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหากได้คำนึงถึงความจริงที่ว่าคนทุกคนเริ่มแข่งขันด้วยฐานะทาง          เศรษฐกิจที่ แตกต่างกัน แต่ถ้าให้ต่างฝ่ายต่างแข่งขันกันโดยความเที่ยงธรรมแล้วรัฐต้องเข้าช่วยหรือ            มีบทบาทในทางใด ทางหนึ่งมิฉะนั้นความเลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นได้

ข้อใดสอดคล้องกับข้อความข้างต้น

  1. ถ้ารัฐจะไม่เข้ามามีบทบาทแล้วจะเกิดการแข่งขันโดยไม่เที่ยงธรรม
  2. ถ้าความเลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจจะเกิดขึ้นแล้วการแข่งขันจะเป็นไปอย่างเที่ยงธรรม
  3. การเปิดโอกาสให้ทุกคนมีสิทธิ์เท่าเทียมกันเป็นเศรษฐกิจระบบทุนนิยม
  4. ความเท่าเทียมย่อมมีได้ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

ข้อสอบ ก.พ.,แนวข้อสอบ ก.พ.,แนวข้อสอบ ก.พ. ภาค ข,แนวข้อสอบ ก.พ. เฉลย,แนวข้อสอบ ก.พ. 2562,แนวข้อสอบ ภาษาอังกฤษ ก.พ.,เฉลยข้อสอบ ก.พ.,หนังสือ เตรียม สอบ ก.พ.,หนังสือ คู่มือ ก.พ.,หนังสือ สอบ ก.พ.,ข้อสอบ ภาค ก.,ข้อสอบ ภาค ก. ก.พ.,แนวข้อสอบ ภาค ก.,แนวข้อสอบ ภาค ก. ก.พ.,แนวข้อสอบ ก.พ. ภาค ก.,แนวข้อสอบ ก.พ. ภาค ก. 2562,แนวข้อสอบ ภาค ก. ก.พ. 2562,แนวข้อสอบ ภาค ก. 2562,แนวข้อสอบ ภาค ก. ภาค ข,แนวข้อสอบ ภาค ก. เฉลย,แนวข้อสอบ ภาษาอังกฤษ ภาค ก.,หนังสือ คู่มือ ภาค ก. ก.พ.,หนังสือ เตรียม สอบ ก.พ. ภาค ก.,หนังสือ เตรียม สอบ ภาค ก.,เฉลยข้อสอบ ภาค ก.,

Facebook Comments

You may also like...

ACTGROUP แอ๊คกรุ๊ป ติวสอบท้องถิ่น สอบ กพ. 2562 - 2563 แนวข้อสอบ กพ ธ.ก.ส. รับสมัครสอบ ข่าวสอบราชการ สอบ ก.พ. 2563 รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ งานรัฐวิสาหกิจ งานเอกชน หางานราชการ สมัครงานราชการ และข่าวสารการรับสมัครงานมากมายที่นี่ี 2562-2563