กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-7 มี.ค. 2566 รวม 20 อัตรา,
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-7 มี.ค. 2566 รวม 20 อัตรา,
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ลิงค์: https://ehenx.com/18035/ หรือ
ตำแหน่ง: นักทรัพยากรมนุษย์,นิติกร,นักวิชาการอุตสาหกรรม,นักวิทยาศาสตร์,นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 18,000-
อัตราว่าง: 20
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 7 มี.ค. 2566
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป
ด้วยกรมล่งเสริมอุตสาหกรรม ประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการทั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การสรรหาและการเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและ คุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงานและการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นักทรัพยากรมนุษย์
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นิติกร
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการอุตสาหกรรม
อัตราว่าง : 15 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นักวิทยาศาสตร์
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักทรัพยากรมนุษย์
ได้รับวุฒิปริญญาตรีในทุกสาขาวิชา
นิติกร
ได้รับวุฒิปริญญาตรีในสาขาวิชานิติศาสตร์
นักวิชาการอุตสาหกรรม
ได้รับวุฒิปริญญาตรีในทุกสาขาวิชา
นักวิทยาศาสตร์
ได้รับวุฒิปริญญาตรีในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ทางเทคโนโลยีไฟฟ้า หรือทางเทคโนโลยีเครื่องกล สาชาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชา เกษตรศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชา วิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์
ได้รับวุฒิปริญญาตรีในสาขาวิชาวิจิตรคิลป็และประยุกต์ศึลน้ หรือสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
นักทรัพยากรมนุษย์
(๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบ การจัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ หรือของส่วนราชการ
(๒) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการดำเนินงาน เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการ และ ความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ การจัดหลักสูตรและการถ่ายทอด ความรู้ การจัดสรรทุนการศึกษา และการดูแลนักเรียนทุนและบุคลากรภาครัฐในต่างประเทศ รวมถึง การวางแผนและเสนอแนะนโยบายหรือยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ และแผนการจัดสรรทุนการศึกษาและการผีเกอบรม
(๔) ศึกษา รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการกำหนดตำแหน่ง และการวางแผนอัตรากำลังของส่วนราชการ
(๕) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหาร ผลการปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
(๖) ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้มีความรู้ ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
(๗) วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
(๘) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๙) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
(๑๐) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ข้าราชการ พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างความเข้าใจและสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงาน
(๑๑) ให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุน ภารกิจของบุคคลหรือหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และ มาตรการต่าง ๆ
(๑๒) ดำเนินการจัดสวัสดิการและการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
(๑๓) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมล่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
นิติกร
(๑) ดำเนินการเกี่ยวกับงานคดีแพ่ง ได้แก่ การจัดทำหนังสือติดตามทวงถามหนี้จากลูกหนี้ ที่ผิดสัญญา การประสานงานกับพนักงานอัยการในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคดี การประสานงานเกี่ยวกับ การไกล่เกลี่ย ให้การ สืบพยาน ในกระบวนพิจารณาคดีของศาล การดำเนินการและประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการบังคับคดี การจัดเตรียมเอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณาจำหน่ายหนี้สูญ เป็นต้น
(๒) ดำเนินการเกี่ยวกับงานคดีอาญา คดีปกครอง และงานคดีอื่นใดที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับงานนิติกรรมและสัญญา เช่น การยกร่างสัญญา การพิจารณาตรวจ แก่ไขร่างสัญญาที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็นคู่สัญญาให้ถูกต้องตามกฎหมายทุกฉบับที่เกี่ยวข้องกับสัญญานั้น และเป็นไปตามตัวอย่างสัญญาที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนด เป็นต้น
(๔) เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือหรือวินิจฉัยปัญหากฎหมายเกี่ยวกับ ระเบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน
(๕) ปฏิบัติงาน และสนับสบุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสบุนให้หน่วยงาน และกรมล่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
นักวิชาการอุตสาหกรรม
(๑) ศึกษาค้นคว้า รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลด้านอุตสาหกรรม และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกอบการวางแผนพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม พัฒนาการจัดการอุตสาหกรรม พัฒนา ศักยภาพการแข่งขันในตลาดอุตสาหกรรม หรือให้ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดซ้นให้สอดคล้อง กับสภาวการณ์เปลี่ยนแปลงด้านอุตสาหกรรมในปัจจุบัน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
(๒) ศึกษาวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ หรือกิจการด้านอุตสาหกรรม เพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้บังคับบัญชาในการส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรม ตลอดจนดำเนินการ ประสานงาน เพื่อให้มีผลสัมฤทธี้ของงานตรงตามนโยบายของหน่วยงานที่กำหนดไว้
(๓) วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
(๔) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนดไว้
(๕) ให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน อบรม หรือเผยแพร่ให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพและ สามารถแช่งขันได้ในระดับประเทศและระดับสากล
(๖) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
นักวิทยาศาสตร์
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์โนด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญ จัดทำ ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรฟิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และ ร่วมดำเนินการจัดฟิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
(๗) วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธึ๋ที่กำหนด
(๘) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมถุทธี้ตามที่กำหนด
(๙) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
(๑๐) ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการ ส่วนราชการ และประชาชนผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
(๑๑) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง
(๑๒) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์
(๑) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย ทดลอง ออกแบบ พัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์งานด้านพาณิชย์ศิลป้ หรืองานบรรจุภัณฑ์
(๒) สำรวจ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำรายงานรูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือบรรจุภัณฑ์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำด้านวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ เพื่อให้สามารถดำเนินงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
(๔) กำหนดแนวทางการดำเนินงาน แผนงาน งบประมาณ และวิธีการปฏิบัติงาน การพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์
(๕) กำหนดแนวทางการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานพัฒนาการผลิตผลิตภัณฑ์
(๖) วางแผนการปฏิบัติงานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของหน่วยงาน
(๗) ประสานงานกับหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ กับทั้งภาครัฐและเอกชนด้านการออกแบบ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและเทคโนโลยีใหม่ ๆ
(๘) เผยแพร่ความรู้และข้อมูลด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ให้แก่ผู้สนใจ
(๙) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
นักทรัพยากรมนุษย์
ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑0๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษาไทย และ ด้านการใช้ภาษาไทย
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และ ที่แก่ไขเพิ่มเดิม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๙ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๑๐ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับหลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) และการพัฒนาทรัพยากรบุคคลภาครัฐ (HRD)
๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
นิติกร
ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษาไทย และ ด้านการใช้ภาษาไทย
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราขการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และ
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๙ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๑๐ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายปกครอง
๒.๔ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไข
เพิมเดิม
นักวิชาการอุตสาหกรรม
ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษาไทย และ ด้านการใช้ภาษาไทย
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และ ที่แกไขเพิ่มเดิม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๙ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๑๐ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้ด้านการวิเคราะห์และการจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม
๒.๒ ความรู้ต้านเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นและสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน
๒.๓ หลักการบริหารจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) และวิสาหกิจชุมชน
นักวิทยาศาสตร์
ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษาไทย และ ด้านการใช้ภาษาไทย
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และ ที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๙ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๑๐ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวัสดุศาสตร์ การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์ ทดสอบและวิจัยพัฒนา ระบบคุณภาพ และการควบคุมคุณภาพ
๒.๒ ความรู้ ความสามารถด้านวัสดุศาสตร์ประยุกต์ เชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการสื่อสาร
นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์
ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษาไทย และ ด้านการใช้ภาษาไทย
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกิไขเพิ่มเติม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และ ที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๑.๙ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ•ศ- ๒๕๖๐
๑.๑๐ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
๒. ความรู้ความสามารถที่ใฃ้เฉพาะตำแหน่ง (๑0๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การสร้างและ พัฒนาแบรนด์ และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์
๒.๒ ความรู้ความเข้าใจในการออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การทำผลิตภัณฑ์ต้นแบบ การเลือกวัสดุโครงสร้าง กลไก รูปร่าง สี การตกแต่งผลิตภัณฑ์ โครงสร้างและกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ตลอดจน การตกแต่งร้านค้า บุธ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ บัดนี้ – 7 มี.ค. 2566 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร
ตำแหน่ง: นักทรัพยากรมนุษย์,นิติกร,นักวิชาการอุตสาหกรรม,นักวิทยาศาสตร์,นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 18,000-
อัตราว่าง: 20
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร ()
การสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของ ก.พ.: **ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ บัดนี้ – 7 มี.ค. 2566 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร